ประเภท ของ โวหาร / โวหาร - Jamethaiphayao

Wednesday, 19 October 2022
อุปมาโวหาร หมายถึง โวหารเปรียบเทียบ โดยกตัวอย่าง สิ่งที่คล้ายคลึงกันมาเปรียบเพื่อให้เกิดความชัดเจนด้านความหมาย ด้านภาพ และเกิดอารมณ์ ความรู้สึกมากยิ่งขึ้น กล่าวได้ว่าอุปมาโวหาร คือ ภาพพจน์ประเภทอุปมานั่นเอง อุปมาโวหารใช้เป็นโวหารเสริม บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร และเทศนาโวหาร เพื่อให้ชัดเจนน่าอ่าน โดยอาจเปรียบเทียบอย่างสั้น ๆ หรือเปรียบเทียบอย่างละเอียดก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอุปมา โวหารนั้นจะนำไปเสริมโวหารประเภทใด ิต_บุรทัต
  1. ภาษาไทย การเขียน – Eduction
  2. ประเภทของโวหารภาพพจน์
  3. ประเภทของบทอ่าน
  4. ธัญญรัตน์ แสนสุข: โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย

ภาษาไทย การเขียน – Eduction

ขั้นตอนในการเตรียมตัวเขียน นอกจากจะต้องเตรียมข้อมูลจัดทำโครงเรื่องแล้ว ควรเลือกใช้สำนวนโวหารให้เหมาะกับเนื้อความที่ จะเขียน สำนวนโวหารในภาษาไทย แบ่งออกเป็น 5 คือ 1) บรรยายโวหาร 2) พรรณนาโวหาร 3) เทศนาโวหาร 4) สาธกโวหาร 5) อุปมาโวหาร 1.

ประเภทของโวหารภาพพจน์นั้น (สมถวิล วิเศษสมบัติ. ๒๕๔๔: ๑๓๑; จันจิรา จิตตะวิริยะพงษ์. ๒๕๔๙: ๔๗๔; ภิญโญ ทองเหลา. ๒๕๔๗: ๑๕; รัตนา ศรีมงคล. ) ได้กล่าวสอดคล้องกันไว้ ดังนี้

ประเภทของโวหารภาพพจน์

๗ นามนัย ( Metonymy) นามนัย คือ การใช้คำหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง คล้ายๆ สัญลักษณ์ แต่ต่างกันตรงที่ นามนัยนั้นจะดึงเอาลักษณะบางส่วนของ สิ่งหนึ่งมากล่าวให้หมายถึงส่วนทั้งหมด หรือใช้ชื่อส่วนประกอบสำคัญของสิ่งนั้นแทนสิ่งนั้นทั้งหมด ตัวอย่างเช่น เมืองโอ่ง หมายถึง จังหวัดราชบุรี เมืองย่าโม หมายถึง จังหวัดนครราชสีมา ทีมเสือเหลือง หมายถึง ทีมมาเลเซีย ทีมกังหันลม หมายถึง ทีมเนเธอร์แลนด์ ทีมสิงโตคำราม หมายถึง อังกฤษ ฉัตร มงกุฎ หมายถึง กษัตริย์ เก้าอี้ หมายถึง ตำแหน่ง หน้าที่ มือที่สาม หมายถึง ผู้ก่อความเดือดร้อน เอวบาง หมายถึง นาง ผู้หญิง ๒. ๘ ปรพากย์ ( Paradox) ปฏิพากย์ หรือ ปรพากย์ คือการใช้ถ้อยคำที่มีความหมายตรงกันข้าม หรือขัดแย้งกันมากล่าว อย่างกลมกลืนกันเพื่อเพิ่มความหมายให้มีน้ำหนักมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น เลวบริสุทธิ์ บาปบริสุทธิ์ สวยเป็นบ้า สวยอย่างร้ายกาจ สนุกฉิบหาย สวรรค์บนดิน ยิ่งรีบยิ่งช้า น้ำร้อนปลาเป็น น้ำเย็นปลาตาย เสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ แพ้เป็นพระ ชนะเป็นมาร

พรรณนาโวหาร คือ โวหารที่ใช้กล่าวถึงเรื่องราว สถานที่ บุคคล สิ่งของ หรืออารมณ์อย่างละเอียด สอดแทรกอารมณ์ ความรู้สึกลงไปเพื่อโน้มน้าวใจ ให้ผู้รับสารเกิดภาพพจน์ เกิดอารมณ์คล้อยตามไปด้วย ใช้ในการพูดโน้มน้าว อารมณ์ของผู้ฟัง หรือเขียนสดุดี ชมเมือง ชมความงามของบุคคล สถานที่และแสดงอารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ เป็นต้น 4. อุปมาโวหาร หมายถึง โวหารเปรียบเทียบ โดยยกตัวอย่าง สิ่งที่คล้ายคลึงกันมาเปรียบเพื่อให้เกิดความชัดเจนด้านความหมาย ด้านภาพ และเกิดอารมณ์ ความรู้สึกมากยิ่งขึ้น โดยอาจเปรียบเทียบอย่างสั้น ๆ หรือเปรียบเทียบอย่างละเอียดก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอุปมาโวหารนั้นจะนำไปเสริมโวหารประเภทใด 5. สาธกโวหาร คือ โวหารที่มุ่งให้ความชัดเจนโดยการยกตัวอย่างหรือเรื่องราวประกอบการอธิบาย เนื้อหาสาระ เพื่อสนับสนุน ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ให้หนักแน่น สมเหตุสมผล ทำให้ผู้รับสารเข้าใจเนื้อหา สาระในสิ่งที่พูด หรือเขียนอย่างแจ่มแจ้ง ชัดเจน ดูสมจริง หรือน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น ตัวอย่างหรือเรื่องราว ที่ยกขึ้นประกอบอาจเป็นเรื่องสั้น ๆ หรือเรื่องราวยาว ๆ ก็ได้ตามความเหมาะสม เช่น ประสบการณ์ตรงของผู้ส่งสาร เรื่องราวของบุคคล เหตุการณ์ นิทาน ตำนาน วรรณคดี เป็นต้น สาธกโวหารมักใช้เป็นอุทาหรณ ์ประกอบอยู่ในเทศนาโวหาร หรืออธิบายโวหาร 6.
  • ต้องการ ซื้อ เกวียน
  • ถุงเท้า วิ่ง supersport
  • Bcm มือ สอง 25 000
  • 5 วิธี ลดแก้ม ลดเหนียง ทำตามนี้ หน้าเล็กลงแน่นอน! - Apex Profound Beauty
  • ASUS Zenfone Max Pro (M2) ZB631KL สมาร์ทโฟน หน้าจอ 6.3 นิ้ว Snapdragon 660 Octa Core ราคา 6,990 บาท - สยามโฟน.คอม
  • แผ่น กัน รั่ว หลังคา
  • โวหาร - JameThaiPhayao
  • # จอมถุย ผิดกฎ อดป้อง บัตเลอร์-สุลต่าน ชิงเฉพาะกาล!!(มีคลิป) | มวยสากล มวยโลก มวยไทย
  • โจรสาวทำทีมาสั่งส้มตำ แม่ค้าเผลอล้วงเงินไปเกือบหมื่น
  • Godox x1c ราคา iphone
  • บทความ ทางการ ตลาด 2018

ประเภทของบทอ่าน

การโวหาร ความหมายของโวหาร โวหาร หมายถึง ถ้อยคำที่ใช้ในการสื่อสารที่เรียบเรียงเป็นอย่างดี มีวิธีการ มีชั้นเชิงและมีศิลปะ เพื่อสื่อให้ผู้รับสารรับสารได้อย่างแจ่มแจ้ง ชัดเจนและลึกซึ้ง รับสารได้ตามวัตถุประสงค์ของผู้ส่งสาร ประเภทของโวหาร การเขียนเรื่องราวอาจใช้โวหารต่าง ๆ กันแล้วแต่ชนิดของข้อความ โวหารอาจจำแนก ตามลักษณะ ของข้อความหรือเนื้อหาเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ ดังนี้ 1.

ประเภทของโวหาร

อธิพจน์ ( Hyperbole) อติพจน์ หรือ อธิพจน์ คือ โวหารที่กล่าวเกินความจริง เพื่อสร้างและ เน้นความรู้สึกและอารมณ์ ทำให้ผู้ฟัง เกิดความรู้สึกที่ลึกซึ้ง ภาพพจน์ชนิดนี้ นิยมใช้กันมากแม้ใน ภาษาพูด เพราะเป็นการกล่าว ที่ทำให้เห็นภาพ ได้ง่ายและแสดงความรู้สึกของกวีได้อย่างชัดเจน ตัวอย่าง เช่น คิดถึงใจจะขาด คอแห้งเป็นผง ร้อนตับจะแตก หนาวกระดูกจะหลุด การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า ๖. สัทพจน์ ( Onematoboeia) สัทพจน์ หมายถึง ภาพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชาติ เช่น เสียงดนตรี เสียงสัตว์ เสียงคลื่น เสียงลม เสียงฝนตก เสียงน้ำไหล ฯลฯ การใช้ภาพพจน์ประเภทนี้ จะทำให้เหมือนได้ยินเสียงนั้นจริง ๆ ตัวอย่างเช่น ลูกหมาร้องบ๊อก ๆ ๆ ลุกนกร้องจิ๊บๆๆ ลูกแมวร้องเหมียว ๆ ๆ เปรี้ยง ๆ ดังเสียงฟ้าฟาด ตะแลกแต๊กแต๊กตะแลกแต๊กแต๊ก กระเดื่องดังแทรกสำรวลสรวลสันต์ ๗.

ธัญญรัตน์ แสนสุข: โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย

๒. ๑ ความหมายของโวหารภาพพจน์ โวหาร คือ การใช้ถ้อยคำอย่างมีชั้นเชิง เป็นการแสดงข้อความออกมาในทำนองต่างๆ เพื่อให้ข้อความได้เนื้อความดี มีความหมายแจ่มแจ้ง เหมาะสมน่าฟัง ในการเขียนเรื่องราวอาจใช้โวหารต่างๆ กัน แล้วแต่ชนิดของข้อความ (สมถวิล วิเศษสมบัติ. ๒๕๔๔: ๑๒๙) โวหารภาพพจน์ คือ กลวิธีการนำเสนอสารโดยการพลิกแพลงภาษาที่ใช้พูด หรือเขียนให้แปลกออกไปจากภาษาตามตัวอักษรทำให้ผู้อ่านเกิดภาพในใจ เกิดความประทับใจ เกิดความรู้สึกสะเทือนใจ เป็นการเปรียบเทียบให้เห็นภาพอย่างชัดเจน (รัตนา ศรีมงคล. /teachershow/ratchaburi/ratana_sri/) ๒. ๒ ประเภทของโวหารภาพพจน์ ประเภทของโวหารภาพพจน์นั้น ( สมถวิล วิเศษ สมบัติ. ๒๕๔๔: ๑๓๑; จันจิรา จิตตะวิริยะพงษ์. ๒๕๔๙: ๔๗๔; ภิญโญ ทองเหลา. ๒๕๔๗: ๑๕; รัตนา ศรีมงคล. /teachershow/ratchaburi/ratana_sri/) ได้กล่าวสอดคล้องกันไว้ ดังนี้ ๒.

อุปลักษณ์ ( Metaphor) อุปลักษณ์ ก็คล้ายกับอุปมาโวหารคือเป็นการเปรียบเทียบเหมือนกัน แต่เป็นการเปรียบเทียบ สิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง มักจะมีคำ เป็น คือ มี ๓ ลักษณะ ๑. ใช้คำกริยา เป็น คือ = เปรียบเป็น เช่น โทสะคือไฟ ๒. ใช้คำเปรียบเป็น เช่น ไฟโทสะ ดวงประทีปแห่งโลก ตกเหวรักจะดิ้นรนไปจนตาย ๓. แสดงการเปรียบเทียบโดยปริยาย เช่น มโหรีจากราวป่ามาเรื่อยรี่ อุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้วิธีกล่าวเป็นนัยให้เข้าใจเอาเอง ที่สำคัญอุปลักษณ์ จะไม่มีคำเชื่อมเหมือนอุปมา ตัวอย่าง เช่น ขอเป็นเกือกทองรองบาทา ไปจนกว่าชีวันจะบรรลัย ทหารเป็นรั้วของชาติ ๓. สัญลักษณ์ ( symbol) สัญลักษณ์ เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่ง โดยใช้คำอื่นมาแทน ไม่เรียกตรงๆ ส่วนใหญ่คำที่นำมาแทนจะเป็นคำ ที่เกิดจาก การเปรียบเทียบและตีความ ซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจและรู้จักกันโดยทั่วไป ตัวอย่างเช่น เมฆหมอก แทน อุปสรรค สีดำ แทน ความตาย ความชั่วร้าย สีขาว แทน ความบริสุทธิ์ กุหลาบแดง แทน ความรัก หงส์ แทน คนชั้นสูง กา แทน คนต่ำต้อย ดอกไม้ แทน ผู้หญิง แสงสว่าง แทน สติปัญญา เพชร แทน ความแข็งแกร่ง ความเป็นเลิศ ๔. บุคลาธิษฐาน ( Personification) บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต บุคคลสมมติ คือ การกล่าวถึงสิ่งต่างๆ ที่ไม่มีชีวิต ไม่มีความคิด ไม่มีวิญญาณ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ อิฐ ปูน หรือสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น ต้นไม้ สัตว ์ โดยให้สิ่งต่างๆเหล่านี้ แสดงกิริยาอาการและความรู้สึกได้เหมือนมนุษย์ ให้มีคุณลักษณะต่างๆ เหมือนสิ่งมีชีวิต ( บุคลาธิษฐาน มาจากคำว่า บุคคล + อธิษฐานหมายถึง อธิษฐานให้กลายเป็นบุคคล) มองซิ.. มองทะเล เห็นลมคลื่นเห่จูบหิน บางครั้งมันบ้าบิ่น กระแทกหินดังครืนครืน ทะเลไม่เคยหลับใหล ใครตอบได้ไหมไฉนจึงตื่น บางครั้งยังสะอื้น ทะเลมันตื่นอยู่ร่ำไป ๕.

ความหมายของโวหาร โวหาร หมายถึง ถ้อยคำที่ใช้ในการสื่อสารที่เรียบเรียงเป็นอย่างดี มีวิธีการ มีชั้นเชิงและมีศิลปะ เพื่อสื่อให้ผู้รับสารรับสารได้อย่างแจ่มแจ้ง ชัดเจนและลึกซึ้ง รับสารได้ตามวัตถุประสงค์ของผู้ส่งสาร ประเภทของโวหาร การเขียนเรื่องราวอาจใช้โวหารต่าง ๆ กันแล้วแต่ชนิดของข้อความ โวหารอาจจำแนก ตามลักษณะ ของข้อความหรือเนื้อหาเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ ดังนี้ 1.

  1. เลข 898 ความ หมาย
  2. ตาราง คะแนน บอล เมื่อ คืน เงิน
  3. ดอก center drill
  4. ดู ช่อ ดอกไม้ ภาษาอังกฤษ
  5. Parkland ปิ่น เกล้า เช่า
  6. เกียร์ 4wd isuzu price
  7. หนองชาก
  8. ผมสั้น 2021 คนอ้วน
  9. ตรวจหวย ย้อน หลัง ปี 64 pyrenees
  10. หนัง ฝ ลั่ง
  11. แปลง ภาพ jpg http