มารยาท ใน การ ฟัง มี อะไร บ้าง

Wednesday, 19 October 2022

มารยาทในการพูดระหว่างบุคคล 2. มารยาทในการพูดในที่สาธารณะ มารยาทในการพูดระหว่างบุคคล มีดังนี้ 1. เรื่องที่พูดควรเป็นเรื่องที่ทั้ง 2 ฝ่าย มีความสนใจและพอใจร่วมกัน 2. ไม่พูดเรื่องของตนเองมากจนเกินไป ควรฟังในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งพูด ไม่สอดแทรกเมื่อเขาพูดยังไม่จบ 3. พูดตรงประเด็น อาจออกนอกเรื่องบ้างพอผ่อนคลายอารมณ์ 4. เคารพความคิดเห็นของผู้อื่น ไม่บังคับให้ผู้อื่นเชื่อหรือคิดเหมือนตน มารยาทในการพูดในที่สาธารณะ การพูดในที่สาธารณะต้องรักษามารยาทให้มากกว่าการพูดระหว่างบุคคล เพราะการพูดในที่สาธารณะนั้นย่อมมีผู้ฟังซึ่งมาจากที่ต่าง ๆ กัน มีวัยวุฒิ คุณวุฒิ และพื้นฐานความรู้ ความสนใจและรสนิยมต่างกันไปมารยาทในการพูดระหว่างบุคคลอาจนำมาใช้ได้และควรปฏิบัติเพิ่มเติมดังนี้ 1. แต่งกายให้สุภาพเรียบร้อยเหมาะแก่โอกาสและสถานที่ 2. มาถึงสถานที่พูดให้ตรงเวลาหรือก่อนเวลาเล็กน้อย 3. ก่อนพูดควรแสดงความเคารพต่อผู้ฟังตามธรรมเนียมนิยม 4. ไม่แสดงกิริยาอาการอันไม่สมควรต่อหน้าที่ประชุม 5. ใช้คำพูดที่ให้เกียรติแก่ผู้ฟังเสมอ 6. ไม่พูดพาดพิงถึงเรื่องส่วนตัวของบุคคลอื่นในที่ประชุม 7. ไม่พูดหยาบโลนหรือตลกคะนอง 8.

การฟังมีประโยชน์อย่างไร? 9 ประโยชน์ที่คุณควรรู้ - Faith and Bacon

รักษากฎระเบียบของสถานที่ที่เราไปนั่งฟัง การเรียนรู้กฎระเบียบของสถานที่ที่เราไปนั่งฟัง แล้วปฏิบัติตามถือเป็นมารยาทที่สำคัญไม่แพ้ข้ออื่น ๆ เลย เพราะทุกสถานที่ย่อมมีกฎระเบียบกำหนดไว้ ยกตัวอย่างเช่นในห้องเรียนที่มีกฎว่าเวลาเรียนห้ามส่งเสียงดัง ห้ามพูดคุยกันในระหว่างที่ครูสอน หรือห้องประชุมที่มักจะห้ามคุยโทรศัพท์ หรือเปิดเสียงโทรศัพท์ระหว่างการประชุม ซึ่งเราก็ควรจะปฏิบัติตามกฎของสถานที่นั้น ๆ อย่างเคร่งครัดด้วย 6.

การรู้จักควบคุมอิริยาบถ ถือเป็นคุณสมบัติที่ดี เช่น เมื่อเราได้ยินเสียงเพลงก็ไม่ควรเขย่าตัว กระดิกเท้า หรือเคาะจังหวะโดยไม่เลือกสถานที่ ซึ่งการกระทำดังกล่าวนี้ ถือว่าเป็นอาการของคนที่ไม่ควบคุมอิริยาบถและไม่เหมาะสมกับกาลเทศะ 7. ความมีน้ำใจไมตรีอันดีต่อกัน การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขด้วยความรักและเข้าใจกัน ควรมีความเอื้ออาทร มีน้ำใจไมตรีต่อกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน มีความเห็นอกเห็นใจ เอาใจใส่ ทุกข์สุขของผู้เกี่ยวข้องมุ่งดีมุ่งเจริญต่อกัน ที่สำคัญคือมีน้ำใจในการช่วยเหลือ หรือช่วยทำประโยชน์ให้แก่สังคม 8. การช่วยเหลือผู้อื่น เป็นคุณธรรมชั้นสูงของการอยู่ร่วมกันใน พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเป็นปัจฉิมโอวาท ความว่า " จงยังประโยชน์ตนและประโยชน์ผู้อื่นด้วยความไม่ประมาทเถิด " การยังประโยชน์แก่ผู้อื่น ก็คือ การช่วยเหลือผู้อื่น หรือการปฏิบัติเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น เพื่อประโยชน์ส่วนรวม สังคมจะมีสันติสุข คือ มีความสงบสุข ถ้าบุคคลในสังคมรู้จักการช่วยเหลือผู้อื่น มีความเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม

  1. VPNs ทดลองใช้ฟรีหรือปลอดภัยหรือไม่ | ITIGIC
  2. กระเป๋า หนัง jacob and jacques monod
  3. ภาพ กล้วย หอม
  4. สนาม สอบ gat pat ม 3 ม 6
  5. 10 มารยาทบนสังคมออนไลน์ที่ควรทราบ (คืออะไร หมายถึง ความหมาย) - Sanook! พีเดีย
  6. กฎหมาย จราจร ทาง อากาศ
  7. แดชบอร์ดประชาชน | เทศบาลนครยะลา
  8. 18 เกม pc health
  9. งาน หางาน สมัครงาน ทุกสาขาอาชีพ OTDS Co., Ltd 26 ซ.นาคนิวาส 11ถ.นาคนิวาส แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร - jobbkk.com
  10. วิธีสังเกตธนบัตร ร.10 แบงค์จริงหรือปลอม เช็กง่าย ๆ ด้วย 8 จุด
  11. การ crossing over the counter
  12. ผล สอบ uce 2561

การประชุมทางออนไลน์ อาจเป็นเรื่องที่ไม่ค่อยได้พบเจอในสถานการณ์ปกติมากนัก เมื่อโควิด-19 แพร่ระบาดไปทั่วประเทศ องค์กรจึงต้องปรับเปลี่ยนการทำงานสู่การ Work From Home ที่ทำให้ต้องเจอประชุมทางออนไลน์มากขึ้น ดังนั้นมาดูมารยาท 10 ข้อที่ควรมี ว่ามีอะไรบ้าง?

มารยาทในการฟังที่ดีควรมีข้อปฏิบัติอย่างไร?? - NockAcademy

เมื่อฟังอยู่เฉพาะหน้าผู้ใหญ่ ควรฟังโดยสำรวมกิริยามารยาท ฟังด้วยความสุภาพเรียบร้อย และตั้งใจฟัง 2. การฟังในที่ประชุม ควรเข้าไปนั่งก่อนผู้พูดเริ่มพูด โดยนั่งที่ด้านหน้าให้เต็มก่อนและควรตั้งใจฟังจนจบเรื่อง 3. จดบันทึกข้อความที่สนใจหรือข้อความที่สำคัญ หากมีข้อสงสัยเก็บไว้ถามเมื่อมีโอกาสและถามด้วยกิริยาสุภาพ เมื่อจะซักถามต้องเลือกโอกาสที่ผู้พูดเปิดโอกาสให้ถาม หรือยกมือขึ้นขออนุญาตหรือแสดงความประสงค์ในการซักถาม ถามด้วยถ้อยคำสุภาพ และไม่ถามนอกเรื่อง 4. มองสบตาผู้พูด ไม่มองออกนอกห้องหรือมองไปที่อื่น อันเป็นการแสดงว่าไม่สนใจเรื่องที่พูด และไม่เอาหนังสือไปอ่านขณะที่ฟัง หรือนำอาหารเครื่องดื่มเข้าไปรับประทานระหว่างฟัง 5. ฟังด้วยใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใสเป็นกันเองกับผู้พูด แสดงสีหน้าพอใจในการพูด ไม่มีแสดงกิริยาก้าวร้าว เบื่อหน่าย หรือลุกออกจากที่นั่งโดยไม่จำเป็นขณะฟัง 6. ฟังด้วยความสุขุม ไม่ควรก่อความรำคาญให้บุคคลอื่น ควรรักษามารยาทและสำรวมกิริยา ไม่หัวเราะเสียงดังหรือกระทืบเท้าแสดงความพอใจหรือเป่าปาก 7. ฟังด้วยความอดทนแม้จะมีความคิดเห็นขัดแย้งกับผู้พูดก็ควรมีใจกว้างรับฟังอย่างสงบ 8. ไม่พูดสอดแทรกขณะที่ฟัง ควรฟังเรื่องให้จบก่อนแล้วค่อยซักถามหรือแสดงความคิดเห็น 9.

2 การฟังช่วยให้ประพฤติดี ปฏิบัติให้สังคมเป็นสุข เช่น ฟังธรรม ฟังเทศนา ฟังคำแนะนำ การอบรม เป็นต้น 1. สร้างความสนใจและความต้องการที่จะฟัง ผู้ฟังที่ดีต้องให้ความสนใจกับเรื่องที่ฟังแม้ว่าเรื่องที่ฟังจะ ไม่ตรงกับความสนใจของตนเองก็ตาม ผู้ฟังต้องรู้หัวข้อเรื่องรวมทั้งจุดประสงค์ว่าฟังเพื่ออะไร 2. ฟังด้วยความตั้งใจ เป็นการฟังอย่างมีสมาธิ จิตใจจดจ่อกับเรื่องที่ฟัง 3. จับใจความสำคัญของเรื่องและคิดวิเคราะห์วิจารณ์เรื่องราวที่ฟัง ในการฟัง ดู และพูด เรื่องราวต่างๆ จากการผ่านสื่อใดหรือโดยใครก็ตาม ผู้ฟัง ผู้ดูและผู้พูด จะต้องพิจารณาให้ถี่ถ้วน ว่าเป็นไปได้อย่างไร แค่ไหนเพราะถ้าเชื่อทุกเรื่อง บางครั้งอาจจะตกเป็นเครื่องมือของผู้ไม่ปรารถนาดีได้ง่าย ผู้ฟังต้องวิเคราะห์จุดประสงค์ในการพูดว่าผู้พูดต้องการให้อะไรกับผู้ฟัง ข้อความตอนใดเป็นข้อเท็จจริง ตอนใดเป็นข้อคิดเห็น ข้อเท็จจริง มีหลักฐานเป็นที่ยอมรับหรือไม่ ข้อคิดเห็นนั้นมีเหตุผลมีความเป็นไปได้หรือน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด แหล่งอ้างอิง:

การรู้จักวางตน ต้องเป็นคนมีความอดทน มีความสงบเสงี่ยม ไม่แสดงกิริยาก้าวร้าว อวดรู้ อวดฉลาด อวดมั่งมีและไม่ควรตีตัวเสมอผู้ใหญ่แม้ว่าจะสนิทสนมหรือคุ้นเคยกันสักปานใดก็ตาม 2. การรู้จักประมาณตน มีธรรมของคนดี ๗ ได้แก่ รู้จัก เหตุผล ตน ประมาณ กาล ชุมชน และบุคคล โดยไม่ทำตัวเองให้เด่น เรียกร้องให้คนอื่นสนใจ หรือสร้างจุดสนใจในตัวเรามากเกินไป ตัวอย่าง คำเตือนของหลวงวิจิตรวาทการที่กล่าวไว้ว่า " จงทำดีแต่อย่าเด่นจะเป็นภัย ไม่มีใครเขาอยากเห็นเราเด่นเกิน " 3. การรู้จักการพูดจา ต้องไม่ทักทายปราศรัยกับคนด้วยคำพูดที่จะทำให้คนเขาเกิดความอับอายในสังคมและไม่คุยเสียงดังหรือยักคิ้วหลิ่วตาทำท่าทางประกอบจนทำให้เสียบุคลิกภาพได้ 4. การรู้จักควบคุมอารมณ์ คือ รู้จักข่มจิตของตน ไม่ใช่อารมณ์รุนแรงเพื่อไม่ให้ล่วงสิ่งที่ไม่ควรล่วง ได้แก่ การข่มราคะ โทสะ โมหะ ไม่ให้กำเริบเป็นคุณลักษณะที่สำคัญอย่างหนึ่ง คือ รู้จักข่มอารมณ์ต่าง ๆ ไม่ทำลายข้าวของไม่พูดและแสดงกิริยาประชดประชันหรือส่อเสียด 5. การสำรวมกิริยาเมื่อเดินผ่านผู้ใหญ่ ขณะที่เดินผ่านผู้ใหญ่ให้ก้มตัวพองาม หรือหากผู้ใหญ่กำลังเดินไม่ควรวิ่งตัดหน้า ควรหยุดให้ผู้ใหญ่เดินไปก่อน หรือไม่ควรเดินผ่านกลางขณะที่ผู้ใหญ่กำลังพูดกัน 6.

งดการนำอาหาร และ เครื่องดื่มทุกประเภทเข้าไปในหอประชุม เพราะนอกจาก อาหารบางประเภทจะส่งกลิ่นรบกวนผู้อื่น ตลอดจนการแกะหีบห่อและการขบเคี้ยวจะทำให้เกิดเสียงดังแล้ว เศษอาหารและเครื่อง ดื่มยังทำให้มด แมลงสาบ หรือหนูมาซ่อนตัว และกัดที่นั่งในโรงให้เสียหายอีกด้วย ดังนั้น จึงไม่ควรนำอาหารและเครื่องดื่มเข้ามารับประทานในโรง ยกเว้นโรงกลาง แจ้ง หรือ ที่ซึ่งได้รับการอนุญาตให้นำเข้าไปได้ แหล่งอ้างอิง:

ต้องตั้งใจเรียน เป็นการแย่มากๆหากว่าเราจับกลุ่มคุยแข่งกับอาจารย์ที่สอนอยู่หน้าชั้นเรียนหรือสนใจในการอ่านหนังสือการ์ตูนมากกว่าบทเรียนในชั่วโมงทุกคนลองคิดดูว่าอาจารย์ผู้สอนเพียงคนเดียวไม่สามารถตะเบ็งเสียงแข่งได้ สิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาคือการเรียนการสอนจะไม่มีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นยังสร้างทัศนคติที่ไม่ดีระหว่างอาจารย์และนักเรียนอีกด้วย 2. ไม่รบกวนสมาธิของผู้อื่น ถึงแม้เราจะเบื่อในวิชานั้นๆก็ไม่ควรไปชวนเพื่อนคุยหรือรบกวนใดๆก็แล้วแต่ถ้าเราไม่เข้าใจหรือสงสัยอะไรให้ยกมือถามอย่าไปถามเพื่อนขณะเรียนเพราะเพื่อนอาจเรียนไม่รู้เรื่องเพราะเรา 3. เชื่อฟังคำตักเตือนของอาจารย์ บางครั้งที่เราทำผิดหรือเราอาจจะดื้อรั้นกับอาจารย์ที่สอนอยู่ อาจารย์อาจจะต่อว่า ตักเตือนหรือตีก็ไม่ควรทำอวดดีหรือโต้เถียงใดๆทั้งสิ้น 4. แสดงนำใจต่อเพื่อนๆ บางครั้งเพื่อนของเรามาเรียนไม่ทันหรือขาดเรียนไปเราควรอธิบายวิชาที่เราพอจะสามารถอธิบายให้เพื่อนเราฟังได้ หรือเพื่อนขาดอุปกรณ์การเรียน ถ้าเรามีก็ควรจะแบ่งปัน เพราะในการเรียนเราต้องพึ่งพาอาศัยกันเมื่อทำกิจกรรมต่างๆอยู่แล้ว 5.